Tweets in Worldwide
มาเที่ยวพัทยาไหม🤗
11
พยากรณ์อากาศวันนี้ ฟ้าครึ้ม เหมือนจะมีฝน มีโอกาศดื่มเบียร์ 100%
45
สวัสดีพัทยา
5
มีชุดพยาบาลละ ไหนหมออ่ะ
8
ผิดทั้ง พรบ.เครื่องดื่มฯ พรบ.สถานพยาบาล ผิดทั้งวินัยเพราะน่าจะอยู่ในช่วงเข้าเวร ใดๆคือกล้าถ่ายคลิปมาลงโซเชี่ยลได้ไงก่อน จีเนียสจัด พยาบาลหวานเจี๊ยบ #แม่ระมาด# #ตากหวานเจี๊ยบ#
Show more
109
ปกติคนเค้าไปเอาคนนัดมาจากไหนกัน ทำมันเราหาคนนัดดีๆ มันยากยัง.🥺 อยากได้หญิงเดี่ยวหรือชายเดี่ยวค่ะ (หญิงเดี่ยวมีค่าใช้จ่ายให้ มาค่าซัพพอตให้นะคะ) #บางแสน# #พัทยา# #ชลบุรีนัดเย็ด#
Show more
0
บางแสนนัดเย็ด ทักมาเถอะค่ะ. ✨ รับชายเดี่ยว/ รับหญิงเดี่ยวมีค่าใช้จ่ายให้ค่ะ. สนใจทักมาได้เลยนะคะ🎀 #บางแสน# #ชลบุรี# #พัทยา# #นัดเย็ด# #นัดเย็ดบางแสน#
Show more
0
โดนเทนัด ใครอยากเย็ด ทักมาได้เลยนะคะตอนนี้ !!!!!!.✨ #นัดเย็ดบางแสน# #นัดเย็ดชลบุรี# #พัทยา#
Show more
0
ช่วงนี้เงี่ยนบ่อยมากกก เงี่ยนสุดๆ หาคนนัดคืนนี้ พิกัดบางแสน. ✨ #นัดเย็ดบางแสน# #นัดเย็ดชลบุรี# #BUU# #พัทยา#
Show more
0
ชุดพยาบาลยั่วๆ 269.- ส่งฟรี❗️ อก 28-40 เอว 28-40 ( ถุงน่องเพิ่ม 70.- ) ในเซทมีที่คาดผม มีสายตรวจคนไข้ 🔥 #sexybshop# #ชุดนอนไม่ได้นอน# #ชุดเซ็กซี่# #ชุดยั่วแฟน# #ชุดอ่อยผัว# #ชุดคอสเพลย์#
Show more
0
ภารกิจเดินทางส่งตัวพยานปากสำคัญ กลายเป็นหายนะที่ความสูง 10,000 ฟุต เมื่อนักบินคนเดียวบนเครื่อง คือนักฆ่าโคตรจิตยึดไฟลต์ ! เตรียมตัวทะยานสู่ความระทึก แบบไม่มีทางหนี ไม่มีที่แลนด์ ใน #FlightRisk# #นรกยึดไฟลต์# 23 มกราคมนี้ ในโรงภาพยนตร์
Show more
0
ในสังคมที่ทุกบริการของภาครัฐผูกโยงกับเอกสารสำคัญ เด็กบนท้องถนน และเด็กชายขอบในสังคมเมืองกลับต้องเผชิญกับอุปสรรคสำคัญ นั่นคือ การขาดใบเกิดและเอกสารยืนยันตัวตน ซึ่งเป็นสิ่งที่หลายคนอาจมองข้าม แต่สำหรับเด็กเหล่านี้ มันคือประตูสู่สิทธิขั้นพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นการเข้ารับการรักษาพยาบาล การเข้าเรียน หรือการเข้าถึงโอกาสที่เท่าเทียม . ขั้นตอนที่ซับซ้อนกับความหวังที่ริบหรี่ แม้บริการของภาครัฐจะถูกออกแบบมาเพื่อคนทุกกลุ่ม แต่ในความเป็นจริง การเข้าถึงระบบเหล่านี้สำหรับเด็กไร้เอกสารกลับเต็มไปด้วยความยุ่งยาก การขอทำใบเกิดย้อนหลังหรือการออกเอกสารใหม่ต้องติดต่อหน่วยงานหลายฝ่าย ทั้งยังต้องใช้เวลาและข้อมูลยืนยันมากมาย ซึ่งสำหรับเด็กบนท้องถนนที่ขาดทั้งผู้ดูแลและหลักฐานพื้นฐาน สิ่งเหล่านี้แทบจะเป็นไปไม่ได้ . ความจำเป็นของใบเกิด: สิทธิเบื้องต้นที่ไม่ควรมองข้าม การไม่มีใบเกิดหรือบัตรประชาชนทำให้เด็กต้องถูกกีดกันออกจากสิ่งที่คนทั่วไปมองว่าเป็นเรื่องปกติ เช่น การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หรือการเข้าเรียนในโรงเรียนอย่างถูกต้องตามระบบ นอกจากนี้ เด็กกลุ่มนี้ยังเสี่ยงต่อการถูกมองข้ามและไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ซึ่งส่งผลกระทบต่ออนาคตของพวกเขาในระยะยาว . รัฐทำอะไรไปแล้ว และสิ่งที่ยังไม่เพียงพอ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมกิจการเด็กและเยาวชน และองค์กรเอกชนที่พยายามช่วยเหลือเด็กไร้เอกสารผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น การรับแจ้งเกิดย้อนหลังและการสนับสนุนด้านกฎหมาย อย่างไรก็ตาม ระบบยังมีช่องว่างใหญ่ เช่น การขาดความต่อเนื่องในการติดตามเด็กที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือข้อจำกัดในงบประมาณและบุคลากรที่ลงพื้นที่จริง . สิ่งที่รัฐควรทำเพื่อโอกาสที่เท่าเทียม รัฐควรปรับปรุงระบบให้เป็นมิตรและเข้าถึงได้ง่ายขึ้น โดยพัฒนาช่องทางการให้บริการที่ยืดหยุ่น เช่น การลดเอกสารที่จำเป็น หรือการสร้างระบบเคลื่อนที่ที่ลงไปช่วยเหลือในพื้นที่ชายขอบ นอกจากนี้ ควรฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ให้เข้าใจถึงปัญหาเฉพาะของเด็กไร้เอกสาร เพื่อให้พวกเขาสามารถช่วยเหลือได้อย่างแท้จริง . บริการของรัฐเป็นมิตรจริงหรือ? ในขณะที่ผู้ใหญ่เองยังมองว่าระบบราชการเป็นเรื่องซับซ้อน แล้วสำหรับเด็กบนท้องถนนที่ไร้ทั้งผู้สนับสนุนและความรู้เรื่องระบบต่าง ๆ ล่ะ? การเข้าถึงโอกาสที่เท่าเทียมยังคงเป็นความท้าทาย เด็กเหล่านี้ต้องการระบบที่พร้อมให้ความช่วยเหลืออย่างแท้จริง ไม่ใช่ระบบที่เต็มไปด้วยอุปสรรคและความล่าช้า . ขาดเอกสาร = ขาดอนาคต เด็กที่ไร้เอกสารไม่ได้สูญเสียเพียงกระดาษแผ่นเดียว แต่พวกเขาสูญเสียอนาคต โอกาสที่จะได้เรียน ได้รับการรักษาพยาบาล และสิทธิที่ควรมีในฐานะพลเมือง เราทุกคนในสังคมมีบทบาทในการผลักดันให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงสิทธิของพวกเขาอย่างเท่าเทียม เพราะเด็กทุกคนสมควรได้รับโอกาสที่จะสร้างชีวิตที่ดีขึ้น ไม่ว่าจะเกิดมาในสถานการณ์ใดก็ตาม . #สายเด็ก1387# #saidek1387# #ChildlineThailand# #เส้นทางขวางฝัน# #เด็กเร่ร่อน# #เด็กบนท้องถนน# #เด็กชายขอบ# #ให้โอกาส# #ส่งต่อพลังใจ# #เปลี่ยนมุมมองสังคม# #VWEF# #ยุติการเลือกปฏิบัติ#
Show more
1
คุณเคยเดินผ่านเด็กที่นั่งอยู่บนฟุตปาธข้างถนนแล้วนึกสงสัยไหมว่าพวกเขาเป็นใคร? เคยคิดไหมว่าพวกเขาอาจไม่มีโอกาสเหมือนเด็กคนอื่นเพียงเพราะเกิดมาในสถานการณ์ที่ไม่เอื้ออำนวย? ไม่สำคัญว่าเราจะเรียกพวกเขาว่าอะไร เด็กชายขอบสังคมเมือง เด็กนอกระบบ เด็กไร้บ้าน เด็กเร่ร่อน หรือเด็กด้อยโอกาส สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ เราปฏิบัติต่อพวกเขายังไง? . น่าเศร้าที่ในสังคมไทยยังคงมีการเลือกปฏิบัติต่อเด็กชายขอบสังคมเมืองและเด็กบนท้องถนน พวกเขาถูกมองด้วยสายตาที่แตกต่าง ถูกตีตรา และถูกกีดกันออกจากโอกาสต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น เด็กชายขอบบางคนถูกปฏิเสธการเข้าโรงเรียนเพราะไม่มีเอกสารยืนยันตัวตน หรือถูกมองว่า "ไม่เหมาะสม" ในการเรียนร่วมกับเด็กคนอื่น บางคนถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจมองด้วยความระแวงสงสัย ถูกเลือกปฏิบัติ จนไม่กล้าแม้แต่จะขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ เมื่อประสบปัญหา หรือถูกทำร้ายร่างกาย . เด็กเหล่านี้รู้สึกถูกทอดทิ้ง มองตัวเองเป็นคนนอก ไม่กล้าที่จะฝันหรือมองหาชีวิตที่ดีกว่า เพราะถูกตีตราอยู่เสมอ เด็กเหล่านี้เคยเลือกที่จะเกิดได้ไหม? แล้วทำไมพวกเขาต้องถูกเลือกปฏิบัติเพียงเพราะต้นทุนชีวิตของพวกเขาต่างจากคนอื่น? . ปัญหาที่สำคัญคือการเข้าไม่ถึงระบบของรัฐ เด็กบนท้องถนนมักไม่สามารถเข้าถึงการศึกษา การรักษาพยาบาล และโอกาสในการทำงาน เพราะขาดเอกสาร หรือมีประวัติที่ทำให้สังคมมองพวกเขาอย่างไม่เป็นธรรม ระบบของรัฐควรจะถูกออกแบบมาเพื่อเข้าถึงทุกคน ไม่ใช่เพียงแค่กลุ่มคนที่มี "สิทธิ" ในระบบเท่านั้น . จริงอยู่ที่ภาครัฐได้มีโครงการต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือเด็ก ๆ เหล่านี้ เช่น โครงการเรียนทางไกล การศึกษานอกระบบ หรือคลินิกเคลื่อนที่ รวมถึงการทำงานร่วมกับ NGOs แต่บางโครงการก็ยังขาดความต่อเนื่อง มีทรัพยากรไม่เพียงพอ หรือไม่ตอบโจทย์ความต้องการของเด็กเหล่านี้ ที่สำคัญคือบริการที่เป็นมิตรต่อเด็ก ๆ เหล่านี้ เช่นการปฏิบัติตัวต่อเด็กของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ หรือการทำงานที่ซับซ้อนของระบบภาครัฐ เราอยากเห็นการเปลี่ยนแปลง อยากเห็นนโยบายที่ยืดหยุ่น ที่เปิดโอกาสให้เด็ก ๆ สามารถเข้าเรียนที่ตอบโจทย์ และเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ และการบริการที่เป็นมิตรของภาครัฐ อยากเห็นการรณรงค์เพื่อลดการตีตรา และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเด็กบนท้องถนน และเด็กชายขอบในสังคม และอยากเห็น "พื้นที่ปลอดภัย" ที่เด็ก ๆ เหล่านี้ จะได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และพัฒนาตัวเอง โดยไม่ถูกมองข้าม เด็กบนท้องถนนและเด็กชายขอบ ไม่ใช่ปัญหาที่แก้ไขไม่ได้ พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ที่เราทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อมอบโอกาส และช่วยให้พวกเขามีชีวิตที่ดีขึ้น . #สายเด็ก1387# #saidek1387# #ChildlineThailand# #เส้นทางขวางฝัน# #เด็กเร่ร่อน# #เด็กบนท้องถนน# #เด็กชายขอบ# #ให้โอกาส# #ส่งต่อพลังใจ# #เปลี่ยนมุมมองสังคม# #VWEF# #ยุติการเลือกปฏิบัติ#
Show more
1
📹ตัวอย่างคลิป🔞A lustful masseuse girl💋💦 เดือนนี้นัทอย่างลองกับชายเดี่ยวทรง Bad boy ดิบๆเถื่อนๆ มีรอยสัก แล้วคุณโยก็ทักมาพร้อมยินดีรับเงื่อนไขของนัท เราจึงได้เจอกัน รอบนี้นัทอยากลองเป็นหมอนวด นัทเริ่มต้นด้วยการให้คุณโยนอนบนเตียง แล้วนัทก็ขึ้นคร่อมพร้อมกับนวดไปเรื่อยๆ สักพักนัทก็เริ่มใช้นมถูไปที่แผ่นหลังเขา อาการคุณโยเริ่มออก มือเขาเริ่มซุกซนมากขึ้นเรื่อยๆ พยามจับก้นนัทแล้วใช้นิ้วแหย่เข้ามาในร่อง พูดแล้วเสียวค่ะ แถมคุณโยก็ใช้ลิ้นเก่งมาก เอาเป็นว่าดูคลิปเต็มความยาว 27 นาทีได้ที่ OnlyFans ของ @NutKatihom เท่านั้นนะคะ ถ้าอยากสนุกกับนัท ทักมาพร้อมส่งรูปให้เห็นหน้าชัดๆก่อนนะคะ ทุกอย่างเป็นความลับ แล้วเจอกันค่ะ จุ๊บๆ😘
Show more
5
ไปทำทุระที่พัทยาเลยนัดคุณเมย์มาถ่ายคลิปกันแต่คุณเมย์ขอเสียบดาฟบอกอยากเสียบมานานแล้ว งูคุณเมย์ใหญ่ยาวด้วยทั่งจุกทั่งเสียว โดนซอยจนแตกเองเสียวไม่ไหว💦💦 @MYBeememyself2 No sensor 🐍💦 Onlyfan :
Show more
20
"ผมเคยคิดว่าการเริ่มต้นชีวิตใหม่เป็นเรื่องง่าย แค่ตั้งใจทำงาน แต่ความจริงคือ... ทุกครั้งที่ผมยื่นใบสมัคร สายตาที่มองกลับมามันบอกทุกอย่าง เมื่อเขารู้ว่าผมเคยมีประวัติ" . เด็กและเยาวชนชายขอบจำนวนมากต้องเผชิญกับกำแพงที่มองไม่เห็นเมื่อก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงาน ไม่ใช่เพราะพวกเขาขาดความสามารถ แต่เพราะสังคมยังติดอยู่กับอดีตหรืออคติที่ผูกติดพวกเขาไว้ . การสมัครงานครั้งแรกสำหรับใครหลายคนอาจเป็นเพียงความประหม่า แต่สำหรับเด็กชายขอบ มันคือการเผชิญหน้ากับอคติที่มองไม่เห็น เมื่อแบบฟอร์มต้องการประวัติการศึกษาที่ต่อเนื่อง เอกสารที่ครบถ้วน หรือที่อยู่ถาวร สิ่งเหล่านี้กลายเป็นอุปสรรคชั้นแรกที่พวกเขาต้องเผชิญ . "ช่วงชีวิตที่หายไป" ในประวัติการศึกษาหรือการทำงาน กลายเป็นคำถามที่ตอบยาก เมื่อความจริงคือพวกเขาอาจกำลังพยายามเอาตัวรอดบนท้องถนน หรืออยู่ในกระบวนการทางกฎหมาย . เมื่อภาพจำกลายเป็นโซ่ตรวน "เด็กเกเร" "เด็กมีปัญหา" "เคยติดคดี" คำเหล่านี้ไม่ได้บอกอะไรเกี่ยวกับตัวตนที่แท้จริง ความฝัน หรือศักยภาพของพวกเขา แต่กลับกลายเป็นตราบาปที่ติดตัวไปทุกที่ . นายจ้างหลายคนปฏิเสธโดยอัตโนมัติเมื่อรู้ว่าผู้สมัครเคยมีประวัติผิดพลาดในอดีต โดยไม่ได้มองว่าหลายคนได้ผ่านการเรียนรู้ พัฒนาตัวเอง และพร้อมจะเริ่มต้นใหม่ด้วยความมุ่งมั่น . ทุกคนสมควรได้รับโอกาสครั้งที่สอง การเปลี่ยนแปลงเริ่มต้นจากเรา จากมุมมองที่เรามีต่อกันและกัน เด็กและเยาวชนเหล่านี้ไม่ได้ต้องการความสงสาร แต่ต้องการโอกาสที่เท่าเทียม โอกาสที่จะพิสูจน์ตัวเอง . หากเราเชื่อว่าทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เราก็ควรให้พื้นที่สำหรับการเริ่มต้นใหม่ เพราะบางครั้ง โอกาสเพียงครั้งเดียวอาจเปลี่ยนชีวิตใครสักคนได้ทั้งชีวิต . "I used to think starting over would be easy—just work hard. But the truth is... every time I hand in a job application, the look they give me says it all—once they find out about my past." . Many marginalized youth face invisible barriers when entering the job market. It’s not because they lack talent or skills, but because society is still stuck on their past and the prejudices attached to them. . For most people, applying for their first job might just come with a bit of nervousness. But for marginalized youth, it means facing unseen biases. When the application asks for continuous education history, complete documentation, or a permanent address, these become the first obstacles standing in their way. . The “missing years” in their education or work history often come with difficult explanations. The truth is, they may have been struggling to survive on the streets or caught up in legal processes beyond their control. When stereotypes become chains. “Troublemaker.” “Problem child.” “Criminal record.” . These labels say nothing about who they really are, their dreams, or their true potential. But they become invisible scars that follow them everywhere. . Many employers automatically reject candidates with troubled pasts, without recognizing how far these young people have come— the lessons they’ve learned, the work they’ve done on themselves, and the determination they have to start fresh. . Everyone deserves a second chance. Change starts with us—with the way we see and treat one another. These youth aren’t asking for pity. They’re asking for equal opportunity—the chance to prove themselves. . If we truly believe people can change, then we must create space for new beginnings. Because sometimes, just one opportunity is enough to change someone’s life forever. . #สายเด็ก1387# #saidek1387# #ChildlineThailand# #เส้นทางขวางฝัน# #เด็กเร่ร่อน# #เด็กบนท้องถนน# #เด็กชายขอบ# #ให้โอกาส# #ส่งต่อพลังใจ# #เปลี่ยนมุมมองสังคม# #VWEF#
Show more
1
ในสังคมเมืองที่เจริญก้าวหน้า ยังคงมีเด็กจำนวนไม่น้อยที่ต้องเผชิญกับความท้าทายในการเข้าถึงการศึกษา เด็กบนท้องถนนและเด็กชายขอบสังคมเมืองมักถูกกันออกจากระบบโรงเรียน ไม่ใช่เพราะขาดความสามารถ แต่เพราะโครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจที่ทำให้พวกเขาไม่มีโอกาส แม้ว่าไทยจะมีนโยบายเรียนฟรี แต่ในความเป็นจริง ค่าชุดนักเรียน อุปกรณ์การเรียน ค่าเดินทาง และภาระของครอบครัว กลับเป็นกำแพงที่ผลักให้พวกเขาออกห่างจากห้องเรียน ที่สำคัญคือ เนื้อหาที่ใช้สอนในโรงเรียนทั่วไป อาจไม่เหมาะกับเด็กที่มีพื้นฐานการศึกษาน้อยหรือขาดช่วง พวกเขาต้องการหลักสูตรที่สามารถปรับให้เข้ากับบริบทชีวิต และช่วยให้พวกเขาสามารถนำไปใช้จริงได้ . หลายองค์กรพยายามดึงเด็กเหล่านี้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา เช่น มูลนิธิสร้างโอกาสเด็ก มูลนิธิสายเด็ก 1387 และโครงการศึกษาทางเลือกของภาครัฐ แต่ปัญหาที่ยังแก้ไม่ตกคือ บุคลากรทางการศึกษาที่มีจำนวนน้อยเกินไป ส่งผลต่อคุณภาพการเรียนรู้ เด็กที่กลับเข้าสู่ระบบมักต้องเริ่มต้นจากศูนย์ บางคนแม้โตแล้วก็ยังอ่านเขียนไม่ได้เทียบเท่ากับเด็กในระบบ นี่สะท้อนว่าการศึกษาไม่ได้ถูกออกแบบให้รองรับเด็กที่ขาดโอกาสจริง ๆ แต่กลับใช้มาตรฐานเดียวกับเด็กทั่วไป ทำให้การเรียนรู้ของพวกเขายากขึ้น . ภาครัฐมีมาตรการลดการหลุดออกจากระบบการศึกษา เช่น "การศึกษาขั้นพื้นฐานถ้วนหน้า" และแนวคิด Zero Dropout แต่ปัญหายังอยู่ที่การนำไปปฏิบัติจริง แม้รัฐจะมีโครงการช่วยเหลือ แต่ก็ยังมีเด็กจำนวนมากที่ไม่ได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้พวกเขาหลุดออกจากระบบซ้ำแล้วซ้ำเล่า การแก้ไขปัญหานี้ต้องการมากกว่านโยบายที่สวยหรู แต่ต้องเป็นการสนับสนุนที่มีประสิทธิภาพจริง ตั้งแต่การช่วยเหลือครอบครัว ไปจนถึงการพัฒนาหลักสูตรที่ยืดหยุ่น . คำถามสำคัญคือ Zero Dropout ทำได้จริงหรือไม่? ในปัจจุบัน ยังไม่มีตัวเลขที่แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม แม้จะมีความพยายามเดินหน้าในหลายโครงการ แต่การทำให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ยังเป็นเป้าหมายที่ต้องต่อสู้ต่อไป สิ่งสำคัญคือ การศึกษาต้องปรับให้เข้ากับเด็ก ไม่ใช่ให้เด็กต้องปรับเข้ากับระบบ การเปลี่ยนแปลงนี้อาจใช้เวลา แต่ถ้าเริ่มทำอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เด็กบนท้องถนนและเด็กชายขอบสังคมเมืองจะไม่ถูกทิ้งไว้ข้างหลังอีกต่อไป . Education for Everyone—or Just for Some? In rapidly developing cities, many children still face serious challenges accessing education. Street children and marginalized youth are often left out of the school system—not because they lack ability, but because social and economic structures block their opportunities. . Although Thailand has a free education policy, the reality is different. Uniform costs, school supplies, transportation, and family responsibilities become barriers that push these children away from the classroom. More importantly, standard school curricula often don’t fit the needs of children with limited or interrupted education. These kids need flexible learning programs tailored to their real-life context and practical skills they can actually use. . Many organizations, such as The Foundation for Child Opportunity, Sai Dek 1387 Foundation, and government alternative education projects, work to bring these children back to learning. However, the lack of educational personnel remains a major problem. Kids who re-enter the system often have to start from zero. Some, even as teenagers, still struggle with basic reading and writing skills. This shows that education systems are not truly designed to support children who have been left behind, as they still apply the same standards used for typical students—making learning even harder for these kids. . The government has policies aimed at reducing school dropout rates, such as Universal Basic Education and Zero Dropout. But the real challenge lies in implementation. Despite these programs, many children are not consistently followed up with, causing them to fall out of the system again and again. Solving this problem takes more than good policy—it requires real, effective support, from helping families meet basic needs to developing flexible, adaptive curriculum. . So, the question is: Is Zero Dropout really possible? For now, there is no clear data showing its success. While progress is being made, ensuring all children have access to quality education remains an ongoing fight. . What matters most is this: education should adapt to fit the child—not force the child to fit the system. Real change will take time. But with commitment and consistent action, street children and marginalized youth won’t be left behind anymore. . #สายเด็ก1387# #saidek1387# #ChildlineThailand# #เส้นทางขวางฝัน# #เด็กเร่ร่อน# #เด็กบนท้องถนน# #เด็กชายขอบ# #ให้โอกาส# #ส่งต่อพลังใจ# #เปลี่ยนมุมมองสังคม# #VWEF# #ยุติการเลือกปฏิบัติ# #การศึกษา# #ZeroDropout# #เรียนฟรี#
Show more
0
ผมจะพยายามและไล่ตามพี่ให้ได้ #TopFormEP1EP2# 💖 Top Form กอดกันมั้ย นายตัวท็อป ⏰ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 20:00น. ทาง WeTV เท่านั้น 🔗 @sakurabihashigo @dakaretai_no1 @Bxxm_jj @smart_csnp #TopFormTheSeries# #กอดกันมั้ยนายตัวท็อป# #桜日梯子# #WeTV# #WeTVOriginal# #Tailai# The Sexiest Man & Rising Star
Show more
0
โรงเรียนของใครมีสอนวิชาเพศศึกษากันบ้างคะ ยกมือให้พี่สายเด็กดูหน่อย✋ . พี่สายเด็กเห็นว่าหลาย ๆ โรงเรียนเริ่มมีการสอนเพศศึกษาบ้างแล้ว แต่น่าเสียดาย ที่ในหลาย ๆ ชุมชน เรื่องเพศยังเป็นเรื่องที่นับว่าน่าอับอายและยังไม่ควรที่จะพูดถึงจนกว่าจะโตเป็นผู้ใหญ่ แต่กว่าจะถึงตอนนั้น หลายครั้งมันก็สายเกินไปที่จะรู้ตัวว่ากำลังถูกแสวงประโยชน์ทางเพศน่ะสิ! . ก่อนจะไปถึงเรื่องการสอนเรื่องเพศศึกษา เราต้องมาทลายความเชื่อที่ว่าเรื่องเพศเป็นเรื่องที่เด็กยังไม่ควรที่จะรู้เสียก่อน หลาย ๆ คนคิดว่า “เพศศึกษาต้องพูดแต่เรื่องการมีเพศสัมพันธ์แน่ ๆ เลย” ความจริงไม่ใช่นะคะ เพศศึกษาเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับร่างกายของเราบนพื้นฐานแห่งความเป็นเพศ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงด้านกายภาพ อารมณ์ หรือแม้แต่วิถีทางเพศ พอเราเข้าใจถึงเรื่องพื้นฐานตรงนี้แล้ว เรื่องต่าง ๆ ที่ซับซ้อนขึ้นไปอีกอย่างเรื่องเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย หรือการแสวงประโยชน์ทางเพศ ก็จะเข้าใจได้ง่ายขึ้นค่ะ จะยกตัวอย่างง่าย ๆ ดังนี้นะคะ . ถ้าเรารู้จักร่างกายของตัวเองแล้ว เราจะรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของร่างกาย หวงแหนพื้นที่ส่วนตัว ซึ่งจะตามมาด้วยการรู้จักสิทธิในร่างกายของตนเอง เวลามีใครพยายามเข้าหาเราเพื่อแสวงประโยชน์ทางเพศ เราจะสังเกตได้ว่า “เอ๊ะ นี่มันไม่ใช่เรื่องปกติแล้ว” จะทำให้เราตัดสินใจได้ดีขึ้นว่า ณ ขณะนั้น เราต้องปฏิเสธหรือขอความช่วยเหลือ เพื่อเป็นการปกป้องตนเองค่ะ (เดี๋ยวพี่สายเด็กจะมาพูดเรื่องพวกนี้อย่างละเอียดอีกครั้งในโพสต์ต่อ ๆ ไปนะคะ) . โดยสรุปคือ “เพศศึกษา จะทำให้เราเข้าใจถึงร่างกายของเรา อารมณ์ของเรา การเปลี่ยนแปลง วิถีทางเพศของเรา นำมาสู่การเข้าใจสิทธิของเรา” นั่นเอง ซึ่งการเข้าใจสิทธิในร่างกายของเราเนี่ย สำคัญม้ากมาก พี่สายเด็กขอบอกน้อง ๆ ไว้ตรงนี้เลยนะคะว่า “ร่างกายเป็นของเรา คนอื่นไม่มีสิทธิในร่างกายของเรา” เพราะงั้นถ้ามีใครทำให้รู้สึกไม่สบายใจ พูดว่า “ไม่” หนีออกมา ขอความช่วยเหลือได้เสมอนะคะ ด้วยความห่วงใยจากพี่สายเด็กน้า . #สายเด็ก1387# #saidek1387# #ChildlineThailand# #SUFASEC# #เพศศึกษา# #SexEdForTeens# #เรื่องเพศไม่ใช่เรื่องน่าอาย# #ปรึกษาเรื่องเพศ# #ละเมิดต้องแจ้ง#
Show more
0
พัทยา นักท่องเที่ยวไร้คุณภาพ ทำลายข้าวของยั่วยุให้ตำรวจมาจับ
228

下载我们的应用程序

没有弹窗广告

'